Skip to main content

ลนิธิเพื่อการประสานความร่วมมือชนเผ่าพื้นเมืองเอเชีย (Asia Indigenous Peoples Pact – AIPP)

มูลนิธิเพื่อการประสานความร่วมมือชนเผ่าพื้นเมืองเอเชีย (Asia Indigenous Peoples Pact – AIPP) เป็นองค์กรระดับภูมิภาคที่ก่อตั้งขึ้นในปี 2535 โดยการเคลื่อนไหวของชนเผ่าพื้นเมือง โดยการเคลื่อนไหวของชนเผ่าพื้นเมือง AIPP มุ่งมั่นที่จะส่งเสริมและปกป้องสิทธิของชนเผ่าพื้นเมืองและสิทธิมนุษยชน และระบุประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับชนเผ่าพื้นเมือง

พวกเขาทำงานเพื่อรักษาสิทธิและช่วยให้ชนเผ่าพื้นเมือง (Indigenous Peoples – IPs) ของเอเชียเติบโตอย่างก้าวหน้าผ่านการมีส่วนร่วมที่มีประสิทธิภาพ ความร่วมมือเชิงนวัตกรรม และการดำเนินการที่ครอบคลุมเพื่อเสริมพลัง ยกระดับ และปกป้องสิทธิ ศักดิ์ศรี และความสามารถในการปรับตัวของชุมชน

ปัจจุบัน AIPP มีองค์กรสมาชิกจำนวน 46 องค์กรจาก 14 ประเทศในเอเชีย โดยมีพันธมิตร/เครือข่ายระดับประเทศของชนเผ่าพื้นเมือง 18 องค์กร (การจัดตั้งระดับประเทศ) องค์กรท้องถิ่นและองค์กรย่อย 30 องค์กร วิสัยทัศน์ร่วมกันของพวกเขาคือโลกที่เสียงและทางเลือกอันทรงเกียรติของชนเผ่าพื้นเมือง (IPs) ในเอเชียได้รับการยอมรับ มีอำนาจ และพัฒนาก้าวหน้าอย่างยั่งยืน โดยได้รับสิทธิและเกียรติภูมิในสภาพแวดล้อมที่มีความยุติธรรม สันติภาพ และความเสมอภาค

ภูมิภาค: เอเชีย
เว็บไซต์: aippnet.org
X/Twitter: @aippnet
Facebook: Asia Indigenous Peoples Pact

A group photo featuring the knowledge holders of the Indigenous Karen village of Huay Ee Khang. Huay Ee Khang village is in the Chiang Mai Province of Thailand. Photo by Lakpa Nuri Sherpa, Asia Indigenous Peoples Pact (AIPP)
A group photo featuring the knowledge holders of the Indigenous Karen village of Huay Ee Khang. Huay Ee Khang village is in the Chiang Mai Province of Thailand. Photo by Lakpa Nuri Sherpa / Asia Indigenous Peoples Pact (AIPP)

Dashed line

บทบาทของ AIPP ในโครงการเส้นทางการเปลี่ยนแปลง

ในการใช้เครือข่ายแบ่งปันความรู้ต่างๆซึ่งรวมถึง เครือข่ายภูมิปัญญาชนเผ่าพื้นเมืองในเอเชีย (Indigenous Knowledge and Peoples of Asia – IKPA) AIPP ส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนรู้ระดับภูมิภาคและการสร้างศักยภาพในเอเชีย โดยทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางระดับภูมิภาคสำหรับโครงการของพันธมิตรในเอเชียและสนับสนุนผลลัพธ์ของโครงการเหล่านั้นที่จะสามารถแบ่งปันไปให้ได้กว้างขวางมากขึ้นในภูมิภาค

AIPP ยังสนับสนุนการมีส่วนร่วมทั่วโลกของชนเผ่าพื้นเมืองในเวทีถาวรแห่งสหประชาชาติว่าด้วยประเด็นชนเผ่าพื้นเมือง (United Nations Permanent Forum on Indigenous Issues – UNPFII), อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ (Convention of Biological Diversity – CBD) และเวทีระหว่างรัฐบาลว่าด้วยนโยบายวิทยาศาสตร์ด้านความหลากหลายทางชีวภาพและบริการจากระบบนิเวศ (IPBES)

In the rotational farming field of Mae Yod village, a Karen Indigenous Woman collects vegetables for her family members. Rotational farming is the cultural heritage of Karen Indigenous Peoples that not only ensures food security and well being of community members but also contributes to the conservation and enhancement of biodiversity. Mae Yod village is in Chiang Mai Province of Thailand.
In the rotational farming field of Mae Yod village, a Karen Indigenous Woman collects vegetables for her family members. Rotational farming is the cultural heritage of Karen Indigenous Peoples that not only ensures food security and well being of community members but also contributes to the conservation and enhancement of biodiversity. Mae Yod village is in Chiang Mai Province of Thailand. Photo by Lakpa Nuri Sherpa, Asia Indigenous Peoples Pact (AIPP)

Dashed line

โพสต์ที่เกี่ยวข้อง

Filter

ปฏิญญาอีสักกาอู้ ขณะนี้มีพร้อมใน 12 ภาษา

มูลนิธิประสานความร่วมมือของชนเผ่าพื้นเมืองเอเ…
03.07.24

โครงการปรับใหม่ เมษายน 2567

โครงการฉบับปรับใหม่นี้ จัดพิมพ์ในเดือนเมษายน …
11.04.24
Group of PASD

หุ้นส่วนโครงการในประเทศไทยรับปฏิญญาอีสักกาอู้

เรารู้สึกตื่นเต้นที่จะประกาศว่าปฏิญญาอีสักกาอ…
03.04.24