บทความนี้พิมพ์ครั้งแรกบน UNEP-WCMC.
ประเทศต่าง ๆ ต้องเคารพสิทธิของชนเผ่าพื้นเมืองและชุมชนท้องถิ่นเพื่อให้บรรลุพันธกรณีระหว่างประเทศที่สำคัญของโลกว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ Biodiversity Plan..
This includes acknowledging Indigenous Peoples’ and local communities’ rights to nature and their contributions to the conservation and sustainable use of biodiversity.
Monitoring how their rights are realised is crucial.
การพัฒนาเมื่อไม่นานมานี้หมายความว่าโลกเข้าใกล้ความสามารถในการกำกับติดตามอย่างครอบคลุมว่าสิทธิของชนเผ่าพื้นเมืองที่เกี่ยวข้องกับความหลากหลายทางชีวภาพได้รับการเติมเต็มอย่างไร
ในเดือนพฤษภาคม หน่วยงานย่อยขอ งอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ (CBD) ได้รับการยอมรับข้อเสนอแนะใหม่อย่างเต็มที่ว่าด้วยตัวชี้วัดภูมิปัญญาตามประเพณี ซึ่งขณะนี้ได้ผนวกเข้าไว้ใน กรอบการกำกับติดตามเพื่อแผนความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อตรวจวัดความก้าวหน้าเทียบกับเป้าหมายและเป้าประสงค์ ข้อเสนอแนะเหล่านี้ได้รับแจ้งจากการประชุมเชิงปฏิบัติการที่นำผู้เชี่ยวชาญมาร่วมกันที่สำนักงานใหญ่ของศูนย์การกำกับติดตามการอนุรักษ์โลกของแผนงานสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (UNEP-WCMC) ในเมืองเคมบริดจ์
Type: Blog Region: Global Theme: Community-led conservation; International Processes; Land and resource rights; Sustainable Livelihoods; Traditional and local knowledge; Biodiversity MonitoringPartner: UNEP-WCMC
บรรดาข้อเสนอแนะขณะนี้จะนำเสนอในที่ประชุมของภาคีสมาชิก ณ การประชุมความหลากหลายทางชีวภาพสหประชาชาติ (COP16) ที่จะมาถึงปีนี้ ด้วยโอกาสที่ดีมากที่จะรวมสิ่งเหล่านี้ไว้ในการตัดสินใจรับรองในการประชุมใหญ่ COP16 นี่จะเป็นก้าวสำคัญในการหนุนเสริมและสนับสนุนประเทศต่าง ๆ ให้บูรณาการตัวชี้วัดที่สัมพันธ์กับสิทธิของชนเผ่าพื้นเมืองและภูมิปัญญาตามประเพณีของพวกเขาในการรายงานระดับชาติต่อ CBD
ตัวชี้วัดมีความสำคัญต่อการประเมินความก้าวหน้า
ตัวชี้วัดภูมิปัญญาตามประเพณีเป็นเครื่องมือสำคัญที่วางฐานการปฏิบัติของชนเผ่าพื้นเมืองและชุมชนท้องถิ่นในการดำเนินงานและกระบวนการกำกับติดตามของกรอบความหลากหลายทางชีวภาพโลก (GBF) GBF เป็นพันธกรณีหลักระหว่างประเทศเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพ และปัจจุบันยังเป็นที่รู้จักกันในชื่อแผนความหลากหลายทางชีวภาพ
ตัวชี้วัดช่วยให้รัฐบาลแห่งชาติและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสามารถตรวจวัดได้ว่าความรู้และแนวปฏิบัติของชนเผ่าพื้นเมืองและชุมชนท้องถิ่นมีผลกระทบอย่างไรและถูกรวมเข้ากับความพยายามระดับชาติในการอนุรักษ์และการใช้ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน.
There are four มีตัวชี้วัดภูมิปัญญาตามประเพณีที่สำคัญสี่ประการที่เกี่ยวข้องกับสิทธิส่วนรวมของชนเผ่าพื้นเมือง:
- แนวโน้มความหลากหลายทางภาษาและจำนวนผู้พูดภาษาชนเผ่าพื้นเมือง
- แนวโน้มในการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและการถือครองที่ดินในเขตแดนตามประเพณีของชนเผ่าพื้นเมืองและชุมชนท้องถิ่น
- แนวโน้มในการประกอบอาชีพตามประเพณี
- แนวโน้มในระดับที่ภูมิปัญญาตามประเพณีและการปฏิบัติได้รับการเคารพ
การขาดตัวชี้วัดภูมิปัญญาตามประเพณีเป็นช่องว่างในกรอบการกำกับติดตามสำหรับ GBF ที่ขณะนี้กำลังจะได้รับการแก้ไข ขอขอบคุณข้อเสนอแนะใหม่ ๆ บรรดาภาคีของอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพจะตัดสินใจในที่ประชุม COP16 ว่าจะทำตามข้อเสนอแนะจากหน่วยงานย่อยทางวิทยาศาสตร์หรือไม่ .
This will encourage the use of these indicators นี่จะหนุนเสริมการใช้ตัวชี้วัดเหล่านี้ให้ตรวจวัดการมีส่วนและสิทธิของชนเผ่าพื้นเมืองและชุมชนท้องถิ่นในการดำเนินงานของแผนความหลากหลายทางชีวภาพ
การประชุมปฏิบัติการนำผู้เชี่ยวชาญระดับโลกมาร่วมกัน
เพื่อแก้ไขช่องว่างในกรอบการกำกับติดตาม GBF จึงได้จัดให้มีการประชุมปฏิบัติการผู้เชี่ยวชาญว่าด้วยตัวชี้วัดภูมิปัญญาตามประเพณีเพื่อทบทวนสถานะและวิธีวิทยาของตัวชี้วัดภูมิปัญญาตามประเพณีสี่ประการ.
These สิ่งเหล่านี้ได้ถูกรวมไว้เป็นครั้งแรกเพื่อกำกับติดตามความก้าวหน้าสู่ เป้าหมายไอชิ 18 ของแผนยุทธศาสตร์เพื่อความหลากหลายทางชีวภาพปี 2011-2020.
การประชุมเชิงปฏิบัติการสามวันจัดขึ้นในเดือนมีนาคม 2024 ในเมืองเคมบริดจ์เพื่อประเมินว่าตัวชี้วัดเหล่านี้และเครื่องมือกำกับติดตามบนฐานชุมชนอาจเหมาะสมภายในกรอบการกำกับติดตามอย่างไร
งานนี้ได้รวบรวมตัวแทนชนเผ่าพื้นเมืองมากกว่า 30 คนเพื่อแบ่งปันความ เชี่ยวชาญเกี่ยวกับตัวชี้วัดภูมิปัญญาตามประเพณีและการกำกับติดตามบนฐานชุมชนกับบุคคลและองค์กรอื่น ๆ อีกทั้งยังมีสมาชิกของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญทางเทคนิคเฉพาะกิจ (AHTEG)เกี่ยวกับตัวชี้วัด ซึ่งเป็นกลุ่มผู้เชี่ยวชาญที่จัดตั้งขึ้นเพื่อทำงานในการดำเนินงานตามกรอบการกำกับติดตามของ GBF จนกระทั่งถึง COP16 บรรดาผู้มีส่วนร่วมได้ทบทวนวิธีวิทยาที่นำเสนอเพื่อกำกับติดตามตัวชี้วัดภูมิปัญญาตามประเพณีและประเมินว่าตัวชี้วัดเหล่านี้พร้อมเพียงใดที่จะนำใช้ จากนั้น.
It then จึงตรวจสอบว่าตัวชี้วัดเหล่านี้สามารถนำไปสู่การกำกับติดตามเป้าประสงค์และเป้าหมายของ GBF ได้อย่างไร
ผู้เข้าร่วมได้เสนอแนะว่าตัวชี้วัดแต่ละตัวควรเหมาะสมกับกรอบการกำกับติดตามที่ใด และซึ่งเป้าหมายใดที่ตัวชี้วัดเหล่านี้ควรมีส่วนตัวอย่างเช่น พวกเขาได้แนะนำให้นำตัวชี้วัดการถือครองที่ดินและการใช้ที่ดินมาใช้เป็นตัวชี้วัดหัวข้อภายใต้เป้าหมายขอ งการมีส่วนร่วม.
Headline indicators are a fundamental set of high-level measures, which countries are encouraged to use as a minimum, while component and complementary indicators are optional indicators that provide more detailed insights on progress towards the goals and targets of the GBF.
Participants also proposed that a linguistic diversity index and an indicator on participation of Indigenous Peoples and local communities in decision-making should be included as component indicators under the targets ตัวชี้วัดที่เป็นหัวข้อเป็นชุดพื้นฐานของมาตรการระดับสูง ซึ่งประเทศต่าง ๆ ได้รับการหนุนเสริมให้ใช้เป็นขั้นต่ำ ในขณะที่ตัวชี้วัดที่เป็นองค์ประกอบและเป็นตัวเสริมเป็นตัวชี้วัดเลือกที่ให้ภาพรายละเอียดมากขึ้นเกี่ยวกับความก้าวหน้าไปสู่เป้าประสงค์และเป้าหมายของ GBF ผู้เข้าร่วมยังได้เสนอว่าดัชนีความหลากหลายทางภาษาและตัวชี้วัดการมีส่วนร่วมของชนเผ่าพื้นเมืองและชุมชนท้องถิ่นในการตัดสินใจควรรวมอยู่ในฐานะตัวชี้วัดองค์ประกอบภายใต้เป้าหมายเกี่ยวกับการเข้าถึงความรู้ว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพและการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
ในระหว่างการประชุมเชิงปฏิบัติการได้ให้ความสนใจเป็นพิเศษกับการใช้การกำกับติดตามบนฐานชุมชนและระบบสารสนเทศสำหรับการกำกับติดตาม GBF สิ่งเหล่านี้เป็นแนวทางและเครื่องมือที่ชนเผ่าพื้นเมืองและชุมชนท้องถิ่นเองใช้เพื่อสร้างข้อมูลเกี่ยวกับแนวโน้มทางสังคมและสิ่งแวดล้อมในเขตแดนของตนอย่างเป็นระบบ การตระหนักและสนับสนุนบทบาทของการกำกับติดตามบนฐานชุมชนในกระบวนการกำกับติดตามความหลากหลายทางชีวภาพระดับโลกและระดับชาติเป็นสิ่งสำคัญในการเปิดใช้งานการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่และมีประสิทธิผลของชนเผ่าพื้นเมืองและชุมชนท้องถิ่นในการตัดสินใจและเติมเต็มช่องว่างของข้อมูล การประชุมเชิงปฏิบัติการระบุว่าตัวชี้วัดภูมิปัญญาตามประเพณีเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญในการบูรณาการแนวทางการกำกับติดตามเพื่อตรวจวัดความก้าวหน้าไปสู่เป้าหมายที่เกี่ยวข้องของ.
These are approaches and tools used by Indigenous People and local communities themselves to systematically generate data on social and environmental trends GBF.
Recognising and supporting the role of community-based monitoring in global and national biodiversity monitoring processes is crucial to enabling the full and effective participation of Indigenous Peoples and local communities in decision-making, and filling data gaps.
The workshop identified the traditional knowledge indicators as key entry points to integrate community-based monitoring approaches to measure progress towards relevant targets of the GBF.
“การประชุมเชิงปฏิบัติการของผู้เชี่ยวชาญช่วยบันทึกความก้าวหน้าอันน่าทึ่งที่เกิดขึ้นในการทำงานของตัวชี้วัดภูมิปัญญาตามประเพณีทั้งหมดสี่ตัวนับตั้งแต่แผนยุทธศาสตร์ล่าสุดสำหรับความหลากหลายทางชีวภาพ ผู้เข้าร่วมได้สร้างผลงานนี้เพื่อพัฒนาชุดคำแนะนำว่าตัวชี้วัดภูมิปัญญาตามประเพณีควรเหมาะสมกับกรอบการกำกับติดตามสำหรับ GBF อย่างไร
“ต้องขอบคุณงานนี้ ขณะนี้เราเข้าใกล้การมีภาพที่ครอบคลุมเกี่ยวกับความคืบหน้าของโลกในการตระหนักถึงสิทธิของชนเผ่าพื้นเมืองและชุมชนท้องถิ่น และรับทราบการมีส่วนร่วมของพวกเขาภายใต้ CBD” แคเธอรีน เดสพอต-เบลมอนเต ผุ้เชี่ยวชาญอาวุโสด้านธรรมชาติ เพศภาวะ และสิทธิ ที่ UNEP-WCMC
““การสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชนเผ่าพื้นเมืองและชุมชนท้องถิ่นในกระบวนการกำกับติดตามและรายงานเป็นหนึ่งในวัตถุประสงค์ของโครงการวิถีการเปลี่ยนแปลง แนวทางการกำกับติดตามบนฐานชุมชนมีความสำคัญอย่างยิ่ง อันเนื่องจากชนเผ่าพื้นเมืองและชุมชนท้องถิ่นมีความรู้ละเอียดเกี่ยวกับการจัดการสังคมท้องถิ่น เขตแดน และระบบนิเวศ การประชุมเชิงปฏิบัติการนี้มีส่วนอย่างมากในการทำความเข้าใจตัวชี้วัดภูมิปัญญาตามประเพณี เป็นเรื่องน่ายินดีที่ได้เห็นว่าตอนนี้พวกเขามีตำแหน่งที่โดดเด่นในกรอบการกำกับติดตาม GBF” – โจจี้ คาริโน ที่ปรึกษาอาวุโสด้านนโยบาย ที่แผนงานคนอยู่กับป่า และสมาชิกของเวทีชนเผ่าพื้นเมืองระหว่างประเทศว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ
การประชุมเชิงปฏิบัติการนี้จัดขึ้นโดย UNEP-WCMC และแผนงานคนอยู่กับป่า ในความร่วมมือกับสำนักเลขาธิการอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ.
It was conducted as part of the ดำเนินการโดยเป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิถีการเปลี่ยนแปลง – ความคิดริเริ่มร่วมกันที่นำโดยองค์กรชนเผ่าพื้นเมืองในสี่ประเทศทั่วเอเชีย อัฟริกา และอเมริกา และได้รับการสนับสนุนจากเครือข่ายพันธมิตรระดับโลก
ข้อเสนอแนะที่ยอมรับอย่างครบถ้วน
ข้อเสนอแนะถูกนำเสนอต่อ AHTEG เกี่ยวกับตัวชี้วัดในการประชุมที่จัดขึ้นทันทีหลังจากการประชุมเชิงปฏิบัติการของผู้เชี่ยวชาญ เหล่านี้รวมอยู่ในข้อเสนอแนะของ AHTEG ต่อหน่วยงานย่อยว่าด้วยคำแนะนำทางวิทยาศาสตร์ เทคนิค และเทคโนโลยี (SBSTTA) ซึ่งให้คำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญแก่การประชุมภาคี CBD การประชุมเชิงปฏิบัติการยังได้ให้ข้อมูลที่สำคัญในการทบทวนทางเทคนิคและวิทยาศาสตร์ของตัวชี้วัดภูมิปัญญาตามประเพณีที่มีไว้เพื่อแจ้งการพิจารณาที่ SBSTTA
ข้อเสนอแนะได้รับการยอมรับจาก SBSTTA อย่างเต็มรูปแบบในระหว่างการประชุมในเดือนพฤษภาคม และตอนนี้จะแจ้งการเจรจาและการตัดสินใจในการประชุม COP16 ในเดือนตุลาคม นี่หมายความว่าประเทศต่าง ๆ จะได้รับการสนับสนุนให้ใช้ตัวชี้วัดเหล่านี้เพื่อกำกับติดตามความก้าวหน้าไปสู่เป้าประสงค์และเป้าหมายของกรอบความหลากหลายทางชีวภาพโลก
การประชุมเชิงปฏิบัติการผู้เชี่ยวชาญยังได้ทำหน้าที่เพื่อเสริมความเข้มแข็งของความร่วมมือในอนาคตในหมู่ผู้เข้าร่วมไปสู่การสร้างข้อมูล การจัดการ และการส่งเสริมข้อสนเทศที่เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาชนเผ่าพื้นเมืองและท้องถิ่น
“เป็นเรื่องที่น่าตื่นเต้นมากที่ได้เห็นข้อเสนอแน ะที่สำคัญจากการประชุมเชิงปฏิบัติการที่นำเสนอต่อ COP16 ซึ่งตอนนี้อาจรวมอยู่ในการตัดสินใจที่นำมาใช้ในการประชุม นี่เป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งเพื่อสนับสนุนประเทศต่าง ๆ ในการบูรณาการตัวชี้วัดภูมิปัญญาตามประเพณีในการรายงานระดับชาติต่อ CBD” – แคเธอรีน เดสพอต-เบลมอนเต ผู้เชี่ยวชาญอาวุโสด้านธรรมชาติ เพศภาวะ และสิทธิ ที่ UNEP-WCMC